สาธิตการถักเดรสโครเชต์

1. สาธิตการถักดอกไม้โครเชต์

สาธิต ถักโครเชต์ ดอกไม้โครเชต์ ขนาด 15 x 15 cm ต่อดอก เพื่อนำไปถักต่อดอกเป็นเสื้อ เดรส ผ้าปูโต๊ะ และ อื่นๆ ตามอัธยาศัย





วีดีโอสาธิตวิธีการถัก



2. สาธิตการถักดอกไม้โครเชต์
สาธิต ถักโครเชต์ ดอกไม้ ขนาด 15 x 11 cm แบบเสี้ยว 3/4 ดอก ต่อดอก ถักเป็นเสื้อ เดรส  และ อื่นๆ ตามอัธยาศัย















วีดีโอสาธิตวิธีการถัก




3. สาธิตการถักคอเสื้อ ปกเสื้อ

ถักโครเชต์ คอเสื้อ ปกเสื้อ ลายตาข่าย ช่องโซ่ คอปก เสื้อ เดรสโครเชต์














วีดีโอสาธิตวิธีการถัก





4. สาธิตการถักโครเชต์ปิดช่องว่างระหว่างดอกไม้โครเชต์ช่วงเอว



















วีดีโอสาธิตวิธีการถัก



5. สาธิตการถักเข็มขัดโครเชต์

ถักเข็มขัดคาดเอว เสื้อโครเชต์ เดรสโครเชต์ 














วีดีโอสาธิตวิธีการถัก





6. สาธิตการถักกระโปรงโครเชต์
ถักเดรสโครเชต์ช่วงที่เป็นกระโปรง ช่วงที่ 1





วีดีโอสาธิตวิธีการถัก




7. สาธิตการถักกระโปรงโครเชต์
ถักเดรสโครเชต์ช่วงที่เป็นกระโปรง ช่วงที่ 2








วีดีโอสาธิตวิธีการถัก





วิธีพิมพ์เครื่องหมาย ≠ โดยใช้เครื่อง Mac ของ apple

 วิธีพิมพ์เครื่องหมาย ≠ (ไม่เท่ากับ)โดยใช้เครื่อง Mac ของ apple คือ

กดแป้น option กับ แป้นเครื่องหมาย = (เท่ากับ) พร้อมกัน


ศัตรูพืชและกรรมวิธีในการควบคุมระบบผสมผสาน


ศัตรูพืช

สารเคมีและกรรมวิธี ที่เกษตรกรใช้อยู่

สารธรรมชาติ และกรรมวิธีแทน ระบบผสมผสาน

หนอนกินใบ หนอนเจาะผล หนอนแทะเปลือก

คาร์บารลิ เมทธิล พาราไธออน ,เมทธามิโดฟอส โมโนโครโตฟอส คลอไพริฟอส ฯลฯ 

พ่นในระยะที่แมลงระบาด ป้องกันทุก 7 – 10 วัน

สารสกัดจากสะเดา ข่า ตะไคร้หอม(นีมบอนด์-เอ)(R) พ่นช่วงก่อนระบาด และสํารวจแมลง ถ้าจําเป็นอาจใช้สารไพรที อยด์สังเคราะห์ร่วมด้วยได้ เฉพาะในกรณีที่ไม่ได้ป้องกันมาก่อน และต้องการพ่นเพื่อกําจัดให้แมลงหมดไปในครั้งนั้น ๆ

เพลี้ยไก่แจ้,  เพลี้ยไฟ เพลี้ยจั๊กจั่นฝอยทําลายใบอ่อน

คาร์บารลิ ,ไดโครโตฟอส เมทธามิโดฟอส สารไพรีทอยด์ สารสัง เคราะห์ 

พ่นช่วงแตกใบอ่อน ระยะหางปลาใบคลี่

สารสกัดจากสะเดา ข่า ตะไคร้หอม(นีมบอนด์-เอ)(R) พ่นช่วงแตกใบอ่อน เมื่อเริ่มต้นในครั้งแรก ๆ อาจใช้สารไพรีทอยด์สังเคราะห์ ร่วมด้วย โดยลดอัตราของสารไพรีทอยด์สังเคราะห์ลงมาครึ่งหนึ่งและถ้าเป็นเพลี้ยไก่แจ้อย่างเดียวไม่ต้องใช้สารไพรีทอยด์ สังเคราะห์


ศัตรูพืช

สารเคมีและกรรมวิธีที่เกษตรกรใช้อยู่

สารธรรมชาติ และกรรมวิธีแทน ระบบผสมผสาน

ไรแดงทําลายใบแก่

โปรพาร์ไกท์ โฟซาโลน ไดโคโพล

สารสกัดจากสะเดา ข่า ตะไคร้หอม(นีมบอนด์-เอ)(R) พ่นเพื่อให้ผล ใบ ต้าน ป้องกันและกําจัด โดยพ่นเมื่อพบการระบาด ซึ่งอาจใช้ 1–3 ครั้ง /ฤดูกาลผลิต

มอดเจาะกิ่งลําต้น

คลอไพริฟอส ฉีดพ่นทางลําต้นช่วงการระบาดและ หลังแต่งกิ่ง(ต้องควบคุมโรครากเน่า โคนเน่าด้วย )

สารสกัดจากสะเดา ข่า ตะไคร้หอม(นีมบอนด์-เอ)(R) ที่ลําต้น กิ่ง หลังแตกกิ่ง ร่วมกับเขตกรรมป้องกันโรคโคนเน่าและเก็บส่วนของกิ่งที่ตัดแต่งแล้วไปทําลาย เพื่อทําลายตัวอ่อน– ตัวแก่ของตัวมอด

เพลี้ย แป้ง เพลี้ย หอย เพลี้ย สําลี

โมโนโครโตฟอส เมทธามิโดฟอส ,คลอไพริฟอสซูปราไซด์ ร่วมกับ ไวท์ออยล์ หรือ ปิโตรเลี่ย มออยล์ พ่นที่ผลตั้งแต่เริ่ม่ระบาด

• ใช้คาร์บาริลโรยที่ขั้วผล

• สารสะเดาอัดเม็ด หว่านบริเวณรอบโคนต้น เพื่อไล่มดไม่ให้พาเพลี้ยขึ้นต้นทุเรียน

• สารสกัดจากสะเดา ตะไคร้หอม(นีมบอนด์-เอ)(R)พ่นที่ผลช่วงการระบาด อาจใช้ร่วมกับไพรีทอยด์ สังเคราะห์เมื่อพบว่ามีการระบาดรุนแรงและต้องการ กําจัดไปให้หมดในช่วงนั้น ๆ



ศัตรูพืช

สารเคมีและกรรมวิธี ที่เกษตรกรใช้อยู่

สารธรรมชาติ และกรรมวิธีแทน ระบบผสมผสาน

โรครากเน่า โคนเน่า จากเชื้อ ( Phytoptera )

ใชฟอสฟอรัสแอซิท ฉีดอัดเข้าลำ ต้น

• ทาแผลด้วยฟอสฟอรัสแอซิคชนิดครีมสําหรับทาแผล เมตาแลกซลิ ฯลฯ

• พ่นทางใบด้วย ฟอสเอทธิล อะลูมินั่ม
• ราดดินในบริเวณทรงพุ่ม ด้วยเมตาแลกซิลเทอร์ราโซล ฯลฯ

• จัดการระบายนํ้า อย่าให้ท่วมขัง
• ฉีดเข้าต้นฟอสฟอรัสแอซิค

• ใช้ปุ๋ยชีวภาพและไตรโคเดอร์มากับปุ๋ยหมัก 

• ทาแผลด้วยฟอสฟอรัสแอซิคชนิดครีมหรือ เชื้อจุลินทรีย์

( Beschoice – 4 ) ( R )

โรคใบติด โรคใบลาย(Anthracnose) ราสีชมพู สาหร่ายสนิม

สารกลุ่ม คอปเปอร์ แมนโคเซป คาร์เบลดาซิม ฯลฯ พ่นทางใบช่วงระบาดร่วมกับการตัดแต่ง

• เชื้อจุลินทรีย์
( Bestchoice – 4 ) ( R ) พ่นทางใบในระยะระบาด 

• ใช้บาซิลลัส ซับติลิสและไตรโคเดอร์มาเพื่อลดเชื้อศัตรูพืช

• ถ้าจําเป็น อาจใช้สารเคมี ร่วมด้วยเช่น คาร์เบนดาซิม

• สารสกดัจากสะเดาทุกชนิดให้ผลในการลดความรุนแรงของโรคจะ ค่อนข้างต่ำ

• ใช้การตัดแต่งกิ่ง ช่วยลดโอกาสการเกิดโรคด้วย



ศัตรูพืช

สารเคมีและกรรมวิธี ที่เกษตรกรใช้อยู่

สารธรรมชาติ และกรรมวิธีแทน ระบบผสมผสาน

โรคผลเน่า โรคใบลาย ( Anthracnose )

ใช้สารกลุ่มเดียวกับโรครากเน่า โคนเน่า พ่นที่ผลเป็นระยะ ๆ เช่น
ทุก ๆ 
7 – 10 วัน

• พ่นด้วยสารสกัดจาก สะเดา ข่า ตะไคร้หอมเป็นประจํา ถ้าจําเป็น จะใช้สารเคมีสลับกันบ้าง

วัชพืช

พาราควอท ไกลโคโฟเสท ซัลโฟเสท พ่นปีละ 2 – 3 ครั้ง

• ตัดหญ้าในระยะที่ เหมาะสม

• ใช้สารกําจัดวัชพืช ปีละไม่เกิน ครั้ง
• มีการเว้น วัชพืชไว้บ้าง

เพื่อเป็นที่อาศัยของ ตัวห้ำตัวเบียน



คัดลอกจาก เอกสารวิชาการ การปลูกผักบนพื้นที่สูง กลุ่มสื่อส่งเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถ่ายทอดเทคโนโลยี กรมส่งเสริมการเกษตร ISBN 974-9562-22-4