ศัตรูพืช | สารเคมีและกรรมวิธี ที่เกษตรกรใช้อยู่ | สารธรรมชาติ และกรรมวิธีแทน ระบบผสมผสาน |
หนอนกินใบ หนอนเจาะผล หนอนแทะเปลือก | คาร์บารลิ , เมทธิล , พาราไธออน ,เมทธามิโดฟอส , โมโนโครโตฟอส , คลอไพริฟอส ฯลฯ พ่นในระยะที่แมลงระบาด ป้องกันทุก 7 – 10 วัน | สารสกัดจากสะเดา ข่า ตะไคร้หอม(นีมบอนด์-เอ)(R) พ่นช่วงก่อนระบาด และสํารวจแมลง ถ้าจําเป็นอาจใช้สารไพรที อยด์สังเคราะห์ร่วมด้วยได้ เฉพาะในกรณีที่ไม่ได้ป้องกันมาก่อน และต้องการพ่นเพื่อกําจัดให้แมลงหมดไปในครั้งนั้น ๆ |
เพลี้ยไก่แจ้, เพลี้ยไฟ , เพลี้ยจั๊กจั่นฝอยทําลายใบอ่อน | คาร์บารลิ ,ไดโครโตฟอส , เมทธามิโดฟอส , สารไพรีทอยด์ สารสัง เคราะห์ พ่นช่วงแตกใบอ่อน ระยะหางปลาใบคลี่ | สารสกัดจากสะเดา ข่า ตะไคร้หอม(นีมบอนด์-เอ)(R) พ่นช่วงแตกใบอ่อน เมื่อเริ่มต้นในครั้งแรก ๆ อาจใช้สารไพรีทอยด์สังเคราะห์ ร่วมด้วย โดยลดอัตราของสารไพรีทอยด์สังเคราะห์ลงมาครึ่งหนึ่งและถ้าเป็นเพลี้ยไก่แจ้อย่างเดียวไม่ต้องใช้สารไพรีทอยด์ สังเคราะห์ |
ศัตรูพืช | สารเคมีและกรรมวิธีที่เกษตรกรใช้อยู่ | สารธรรมชาติ และกรรมวิธีแทน ระบบผสมผสาน |
ไรแดงทําลายใบแก่ | โปรพาร์ไกท์ , โฟซาโลน , ไดโคโพล | สารสกัดจากสะเดา ข่า ตะไคร้หอม(นีมบอนด์-เอ)(R) พ่นเพื่อให้ผล ใบ ต้าน ป้องกันและกําจัด โดยพ่นเมื่อพบการระบาด ซึ่งอาจใช้ 1–3 ครั้ง /ฤดูกาลผลิต |
มอดเจาะกิ่งลําต้น | คลอไพริฟอส ฉีดพ่นทางลําต้นช่วงการระบาดและ หลังแต่งกิ่ง(ต้องควบคุมโรครากเน่า โคนเน่าด้วย ) | สารสกัดจากสะเดา ข่า ตะไคร้หอม(นีมบอนด์-เอ)(R) ที่ลําต้น กิ่ง หลังแตกกิ่ง ร่วมกับเขตกรรมป้องกันโรคโคนเน่าและเก็บส่วนของกิ่งที่ตัดแต่งแล้วไปทําลาย เพื่อทําลายตัวอ่อน– ตัวแก่ของตัวมอด |
เพลี้ย แป้ง , เพลี้ย หอย , เพลี้ย สําลี | โมโนโครโตฟอส , เมทธามิโดฟอส ,คลอไพริฟอส, ซูปราไซด์ ร่วมกับ ไวท์ออยล์ หรือ ปิโตรเลี่ย มออยล์ พ่นที่ผลตั้งแต่เริ่ม่ระบาด • ใช้คาร์บาริลโรยที่ขั้วผล | • สารสะเดาอัดเม็ด หว่านบริเวณรอบโคนต้น เพื่อไล่มดไม่ให้พาเพลี้ยขึ้นต้นทุเรียน • สารสกัดจากสะเดา ตะไคร้หอม(นีมบอนด์-เอ)(R)พ่นที่ผลช่วงการระบาด อาจใช้ร่วมกับไพรีทอยด์ สังเคราะห์เมื่อพบว่ามีการระบาดรุนแรงและต้องการ กําจัดไปให้หมดในช่วงนั้น ๆ |
ศัตรูพืช | สารเคมีและกรรมวิธี ที่เกษตรกรใช้อยู่ | สารธรรมชาติ และกรรมวิธีแทน ระบบผสมผสาน |
โรครากเน่า โคนเน่า จากเชื้อ ( Phytoptera ) | •ใชฟอสฟอรัสแอซิท ฉีดอัดเข้าลำ ต้น • ทาแผลด้วยฟอสฟอรัสแอซิคชนิดครีมสําหรับทาแผล , เมตาแลกซลิ ฯลฯ • พ่นทางใบด้วย ฟอสเอทธิล อะลูมินั่ม | • จัดการระบายนํ้า อย่าให้ท่วมขัง • ใช้ปุ๋ยชีวภาพและไตรโคเดอร์มากับปุ๋ยหมัก • ทาแผลด้วยฟอสฟอรัสแอซิคชนิดครีมหรือ เชื้อจุลินทรีย์ ( Beschoice – 4 ) ( R ) |
โรคใบติด , โรคใบลาย(Anthracnose) ราสีชมพู สาหร่ายสนิม | สารกลุ่ม คอปเปอร์ แมนโคเซป คาร์เบลดาซิม ฯลฯ พ่นทางใบช่วงระบาดร่วมกับการตัดแต่ง | • เชื้อจุลินทรีย์ • ใช้บาซิลลัส ซับติลิสและไตรโคเดอร์มาเพื่อลดเชื้อศัตรูพืช • ถ้าจําเป็น อาจใช้สารเคมี ร่วมด้วยเช่น คาร์เบนดาซิม • สารสกดัจากสะเดาทุกชนิดให้ผลในการลดความรุนแรงของโรคจะ ค่อนข้างต่ำ • ใช้การตัดแต่งกิ่ง ช่วยลดโอกาสการเกิดโรคด้วย |
ศัตรูพืช | สารเคมีและกรรมวิธี ที่เกษตรกรใช้อยู่ | สารธรรมชาติ และกรรมวิธีแทน ระบบผสมผสาน |
โรคผลเน่า , โรคใบลาย ( Anthracnose ) | ใช้สารกลุ่มเดียวกับโรครากเน่า โคนเน่า พ่นที่ผลเป็นระยะ ๆ เช่น | • พ่นด้วยสารสกัดจาก สะเดา ข่า ตะไคร้หอมเป็นประจํา ถ้าจําเป็น จะใช้สารเคมีสลับกันบ้าง |
วัชพืช | พาราควอท , ไกลโคโฟเสท , ซัลโฟเสท พ่นปีละ 2 – 3 ครั้ง | • ตัดหญ้าในระยะที่ เหมาะสม • ใช้สารกําจัดวัชพืช ปีละไม่เกิน 2 ครั้ง เพื่อเป็นที่อาศัยของ ตัวห้ำตัวเบียน |
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น